research-nurse

โครงการ “ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) : การทำงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to research: R2R)ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา               หัวใจของการทำR2R  เป็นการทำงานประจำสู่งานวิจัย (R2R)  ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในพัฒนาคนและพัฒนางานให้ดีขึ้น  ดังนั้นคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย งานบริการพยาบาลเห็นคุณค่าของคนหน้างานให้สามารถนำงานประจำมาทำเป็นงานวิจัยได้โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) จะทำให้บุคลากรมีความภาคภูมิใจ  คณะกรรมการฯร่วมกับคนหน้างาน  จึงรวมกลุ่มกันเป็น ชุมชนนักปฏิบัติ(CoP):การทำงานประจำสู่งานวิจัย(R2R) เป็นการรวบรวมความรู้จากประสบการณ์การทำงานของบุคลากรมาเผยแพร่ทำให้เกิดความรู้ใหม่ นำความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร และเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศต่อไป

รายชื่อสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs’  Member)

               ลำดับที่         ชื่อ-นามสกุล                                                        ตำแหน่ง

1. นางสาวชูศรี  คูชัยสิทธิ์                                               เป็นที่ปรึกษา

2. นางสุพร         วงค์ประทุม                                            เป็นที่ปรึกษา

3. นางอุบล จ๋วงพานิช                                                      facilitator (ผู้อำนวยความสะดวก)

4. นางสาวทองคูณ  ยุบัวภา                                             Historian (ผู้ประมวลความรู้)       

   

5. นางสาวพรนิภา  หาญละคร                                      Historian  (ผู้ประมวลความรู้)

6. นางจิราพร                     ศิริโชค                                   CoP member

7.  นางสาวเพียงจิตต์          ธารไพรสาณฑ์                     CoP member

8. นางสาวเกสร                 เหล่าอรรคะ                           CoP member

9. นางสาววิไลลักษณ์      พิมรินทร์                                CoP member

10. นางจุฬาลักษณ์              ณ  หนองคาย                          CoP member

11.นางสาวดาราวรรณ      อักษรวรรณ                            CoP member

12.นางพัสดา                      ภักดีกำจร                                 CoP member

13.นางรัศมี                         งามเจริญ                                  CoP member

14.นางสาวเกศนี                บุณยวัฒนางกุล                      CoP member

15.นางรพีพรรณ                บุญเยือง                                   CoP member

16.นางนุชจรีย์                    หอมนาน                                CoP member

17.นางเอื้อนจิต                   พานทองวิริยะกุล                 CoP member

18. นางสาวสุทิชา               สุวรรณศรี                               CoP member

19.นางงามพิศ               ธนไพศาล                                 CoP member

20.นางสาวอุบลรัตน์         ต้อยมาเมือง                           CoP member

21.บุคลากรจากแผนกการพยาบาล                                CoP member                                         

วัตถุประสงค์:    พัฒนาชุมชนนักปฏิบัติให้มีศักยภาพในการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย

ประเด็น (Domain) พัฒนาการทำงานประจำสู่งานวิจัย   ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

เป้าหมาย (Desired state)                มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทำงานประจำสู่งานวิจัยได้  12   เรื่อง ผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประเด็นสำคัญ (Context)พัฒนางานประจำสู่งานวิจัย  ทุกแผนกการพยาบาล จำนวน  12  แผนก  

งบประมาณ: จากคณะแพทยศาสตร์

1.      งบประมาณในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ค่าอาหารว่าง  25 คนๆละ 25 บาท เดือนละ 2 ครั้ง รวม  8 เดือน รวม     10,000 บาท(1 กุมภาพันธ์ - 30 กันยายน 2553)

2.      งบประมาณในการสรุปโครงการฯ สำหรับคณะกรรมการพัฒนางานวิจัย จำนวน 1 วัน

วันที่  27 กันยายน 2553

ค่าอาหารว่าง  20คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 ครั้ง   รวม                              1,000 บาท

ค่าอาหารกลางวัน 20 คนๆละ 80 บาท จำนวน 1 ครั้ง   รวม                     1,600 บาท                   

 รวม  2,600 บาท

รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด                                                                         12,600 บาท                                         (หนึ่งหมื่นสองพันหกร้อยบาทถ้วน)

ห้องประชุม  งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 

วิธีการดำเนินการ

1.               กำหนดจำนวนสมาชิก  และคุณสมบัติของสมาชิก

2.               ประชาสัมพันธ์การสมัครสมาชิก CoP เช่น หนังสือเวียน  Web  KM คณะแพทยศาสตร์

3.               รับสมัครสมาชิกตาม Domain

4.               กำหนดวัน Knowledge Sharing  เดือนละ 2 ครั้งๆละ 90 นาที

5.               ประเมินผล โดยทำ AAR(After Action Review)6.               สรุปผลการประชุม (Knowledge Asset)

ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ

1.               มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานประจำสู่งานวิจัย

2.               นำความรู้ที่ได้จากการทำวิจัย มาปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาไปสู่   Best practice

3.               บุคลากรในองค์กรตระหนักและเห็นความสำคัญของ Tacit Knowledge

4.               พัฒนาสมาชิกให้สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ใน website KM, Gotoknow

ผู้เขียนโครงการ                    นางอุบล จ๋วงพานิช

ได้รับการอุดหนุนงบประมาณแล้วค่ะ